bookmark_borderการดูแลดวงตา ให้สามารถใช้งานได้นาน

ดวงตาเป็นอวัยวะที่สำคัญของร่างกายมนุษย์ที่ใช้ในการมองเห็น. ดวงตาประกอบด้วยส่วนหลักๆ คือ ก้อนตา (eyeball) และระบบต่างๆ ภายในตาที่ช่วยในการส่งสัญญาณการมองเห็นไปยังสมอง เช่น ม่านตา (eyelid) และเส้นเลือดที่อาจเห็นดวงตาจากด้านข้างของตาและขนตาที่ป้องกันไม่ให้สิ่งของต่างๆ สะเทือนเข้าไปในตา

การมองเห็นเกิดขึ้นเมื่อแสงถูกส่องเข้าสู่ก้อนตาและส่งสัญญาณไปยังสมองผ่านทางระบบประสาททางอ้อม ที่รวบรวมข้อมูลจากเซลล์ที่ตอบสนองต่อแสง (photoreceptor cells) ในเครื่องมือสัญญาณการมองเห็น เช่น เส้นประสาทตาและสมอง

การรักษาดวงตาให้มีสุขภาพดีเมื่อใช้สายตามากเกินไปสามารถทำได้โดยการปฏิบัติตามข้อแนะนำเหล่านี้  hoiana เวียดนาม

  1. พักผ่อนตาอย่างเพียงพอ: ใช้เทคนิค 20-20-20 โดยหยุดพักตาทุก 20 นาทีและมองที่วัตถุที่อยู่ห่างออกไปประมาณ 20 ฟุต (ประมาณ 6 เมตร) เป็นเวลาประมาณ 20 วินาที เพื่อให้ตาได้พักผ่อนจากการมองที่ใกล้เกินไป.
  2. ปรับแสง: รักษาการมองเห็นในสภาพแสงที่เหมาะสมโดยปรับแสงให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม เช่น ลดแสงสว่างในห้องที่สุ่มให้เป็นแสงอ่อนๆ เมื่อใช้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์.
  3. ใช้แว่นตาที่เหมาะสม: ใช้แว่นตาที่ถูกต้องตามคำแนะนำจากแพทย์ตาเพื่อช่วยลดการเหนื่อยของตาที่เกิดขึ้นเมื่อต้องการมองสิ่งของที่อยู่ใกล้หรือในสภาพแสงที่ไม่เหมาะสม.
  4. ปรับแต่งการใช้คอมพิวเตอร์: การปรับแต่งตั้งค่าหน้าจอคอมพิวเตอร์เพื่อลดการเหนื่อยของตา เช่น ปรับความสว่างหรือความสีให้เหมาะสมกับสายตา.
  5. ออกกำลังกาย: การออกกำลังกายสม่ำเสมอช่วยในการรักษาสุขภาพทั่วไปและสามารถช่วยป้องกันปัญหาสุขภาพของตาได้ด้วย เช่น การยืดเวลาการนั่งทำงานหรือใช้คอมพิวเตอร์.
  6. รับประทานอาหารที่เหมาะสม: อาหารที่รวดเร็วที่มีคุณค่าทางโภชนาการเพียงพอสามารถส่งเสริมสุขภาพตาได้ เช่น อาหารที่มีวิตามิน A, C, E, และซิงค์.
  7. เยี่ยมชมแพทย์ตาอย่างสม่ำเสมอ: การตรวจตาอย่างสม่ำเสมอช่วยในการตรวจจับและรักษาโรคตาในระยะเริ่มต้นที่มีโอกาสรักษาสำเร็จมากขึ้น

 

ผลไม้ที่มีสารอาหารที่สามารถช่วยเสริมสุขภาพตาได้แก่

  1. ส้ม: ส้มเป็นแหล่งวิตามิน C ที่มากมาย ช่วยในการป้องกันการเสื่อมสภาพของเนื้อเยื่อต่างๆ ในตา และช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดตาสะบัด.
  2. แตงกวา: แตงกวาเป็นแหล่งวิตามิน A ที่สำคัญ ซึ่งช่วยในการสร้างและรักษาเซลล์สายตา และช่วยในการฟื้นฟูเซลล์ต่างๆ ในตา.
  3. แอปเปิ้ล: แอปเปิ้ลมีวิตามิน C และวิตามิน A ที่ช่วยในการเสริมสุขภาพตา และมีสารสกัดที่ช่วยในการลดความเสี่ยงของการเกิดโรคตาสะบัด.
  4. กล้วย: กล้วยเป็นแหล่งวิตามิน A และวิตามิน C ที่ช่วยในการบำรุงสุขภาพตา และช่วยในการลดความเสี่ยงของการเกิดตาสะบัด.
  5. มะละกอ: มะละกอเป็นแหล่งวิตามิน A และวิตามิน C ที่มีประโยชน์ต่อสายตา โดยเฉพาะในการลดความเสี่ยงของการเกิดตาสะบัดและต้อกระจก.
  6. เบอร์รี่: เบอร์รี่มีสารแอนทีออกซิแดนต์ที่ช่วยป้องกันการเสื่อมสภาพของเนื้อเยื่อต่างๆ ในตา และช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคตาสะบัด.

bookmark_borderการนั่งเป็นเวลานานส่งผลกระทบอะไรต่อตัวคุณได้บ้าง

อ่านนั่งไม่ว่าจะนั่งด้วยเหตุผลใดใดก็ตามแต่ถ้าหากคุณนั่งเป็นเวลานานติดต่อกันหลายหลายวันหลายหลายชั่วโมงก็อาจจะส่งผลข้างเคียงที่จะก่อให้เกิดอันตรายแก่ตัวของคุณได้ซึ่งแน่นอนว่าสำหรับหนุ่มสาวออฟฟิศที่จะนั่งกันทั้งวันอยู่แล้วย่อมมีผลพวงเหล่านี้มาด้วยเรามาดูสาเหตุและวิธีแก้ไขกันดีกว่าว่าถ้าหากคุณเป็นบุคคลที่นั่งเป็นเวลานานนานจะส่งผลกระทบอะไรและสามารถแก้ไขอย่างไรได้บ้าง

1.ส่งผลให้ปวดคอ

ถึงแม้ว่าคุณจะนั่งแต่ระบบภายในของคุณเช่นกระดูกของคุณจะเป็นเส้นยึดไปที่คอดังนั้นการนั่งจึงมีเส้นที่ทำให้ไปตึงและส่งผลทำให้ปวดคอได้ คุณนั่งจ้องหรือเพ่งเล็งอะไรนานๆ เป็นสาเหตุที่ทำให้คุณเกิดการผิดปกติกับคอของคุณบางท่านอาจจะส่งผลทำให้คอเคล็ดได้เลย

 

2.ส่งผลให้ไปขัดขวางการไหลเวียนของเลือด

นั่งเป็นเวลานานจะมีผลกับการไหลเวียนของเลือดซึ่งมันจะส่งให้ติดขัดจะไหลเวียนไม่ดีขึ้นและจะทำให้สมองของคุณมีปัญหาอาจจะเกิดการมึนงงอาจจะเกิดการตื้อได้ดังนั้นสิ่งที่คุณควรจะทำเมื่อคุณนั่งเป็นเวลานานนานและทำให้คุณคิดอะไรไม่ออกให้คุณลุกขึ้นไปสูดอากาศไปเดินเข้าห้องน้ำหรือไปอะไรก็ได้ที่ไม่ใช่นั่งแช่อยู่อย่างนั้น

 

3.เสี่ยงเป็นโรคภาวะซึมเศร้า

อาจจะไม่เข้าใจว่ามันเกิดขึ้นได้อย่างไรการนั่งนานทำให้เป็นภาวะซึมเศร้าได้หรืออันที่จริงแล้วมันมีการวิจัยมาว่าการที่คนนั่งมากกว่า 7 ชั่วโมงโดยไม่ลุกไปไหนเลยเป็นเวลานานนานทุกๆวันอาจจะก่อให้เกิดภาวะซึมเศร้าเนื่องจากเค้าไม่ได้ขยับเนื้อขยับตัวไม่ได้คุยกับใคร เส้นที่อยู่ในร่างกายของเขาเกิดการตึงเครียดเกินไปก็อาจจะส่งผลได้

 

4.ให้รู้สึกปวดหลังช่วงล่าง

การทำให้รู้สึกปวดหลังช่วงล่างหรือปวดก้นกบบริเวณตรงก้นตรงนั้นคือการนั่งมากมันเป็นการเกร็งที่ใช้กล้ามเนื้อก้นมากจนเกินไปทำให้คุณรู้สึกอาการปวดเหล่านี้ขึ้นมาได้และเมื่อนั่งนานมากจนเกินไป  ส่งผลทำให้กระดูกของคุณมีปัญหาด้วยเช่นกันที่เรียกว่ากระดูกทับเส้นก็เกิดจากปัญหาการนั่งนานนานเช่นนี้แหละดังนั้นการลุกขยับบ้างจะช่วยให้คุณดีขึ้นและไม่ก่อให้เกิดโรคนั้นตามมา

 

5.การสะสมของไขมันมากขึ้น

การไม่ได้ขยับร่างกายแน่นอนอยู่แล้วว่าเมื่อคุณกินแล้วก็นั่งกินแล้วก็นั่งจะก่อให้เกิดการสะสมไขมันและการไม่ขยับกระดุกกระดิกตัวเลยทำให้ไขมันของคุณไม่ได้ถูกการนำไปใช้เลยนี่จึงเป็นที่มาของการสะสมไขมันที่มากขึ้นถ้าคุณไม่ดูแลตัวเองด้วยกันกินอาหารหรือออกกำลังกายหลังจากที่คุณทำงานเสร็จแล้วสิ่งที่ตามมาก็คือโรคอ้วนอย่างแน่นอน

 

สนับสนุนโดย    hoiana เวียดนาม

bookmark_borderข้อมุลเบื้องต้นของคนที่อยากลดน้ำหนักด้วยการทำ IF

หลายคนเลือกที่จะลดน้ำหนักมาจากการทำ IF แล้วคุณรู้หรือไม่ว่า IF ย่อมาจากอะไร  ซึ่ง IF นั้นย่อมาจากคำว่า  intermittent fasting 

ซึ่งintermittent แปลว่าเป็นช่วงๆ ส่วน fasting แปลว่าอดอาหารเพราะฉะนั้นคำว่า intermittent fasting ก็ เลยแปลว่ามีการอดอาหารเป็นช่วงๆใน 1 วัน   ถ้าใครเคยได้ยินก็อาจจะเคยได้ยินเขาเขียนคำว่า If 16/8 สังเกตเลขดีๆคือ 16 กับ 8 บวกกันแล้วจะได้ 24 หมายความว่าใน 1 วัน 24 ชั่วโมงโดยทั่วไปคนเราทำ IF อยู่แล้วแต่จะเป็นลักษณะของการทำ iF แบบกำไรหรือขาดทุนเท่านั้นเอง

 ซึ่งในช่วง 24 ชั่วโมงนั้นบางคนอาจจะมีระยะเวลาในการกินมากๆก็ได้เช่นเลือก  hoiana เวียดนาม    ที่จะกิน ตลอดในช่วงทั้งวันไม่ว่าจะเป็นช่วง 8 โมงเช้าหรือแม้แก่กินตอนเที่ยงหรือแม้แต่ 4 โมงเย็นรวมถึง 18:00 น ก็ยังกิน บางคนอาจจะกินไปจนถึง 20:00 น และจนถึงเที่ยงคืนซึ่งเป็นเวลาก่อนนอนก็ยังกินและไปอดอาหารหลังเที่ยงคืนไปถึง 8:00 น ซึ่งวิธีการนี้ก็เป็นการทำ If เช่นเดียวกันแต่จะเป็นการทำ If แบบที่ไม่มีประโยชน์  

อย่างไรก็ตามหาใครต้องการที่จะลดน้ำหนักด้วยการทำ If นั้นจะต้องมีการคำนวณช่วงเวลาในการอดอาหารโดยมีการวิจัยออกมาแล้วว่าจะต้องมีการอดอาหารมากกว่า 12 ชั่วโมงขึ้นไปถึงจะได้ผล 

อย่างไรก็ตามสำหรับใครที่อยากจะลดน้ำหนักด้วยการทำ If นั้นในช่วงแรกที่ไม่เคยทำการลดน้ำหนักด้วยการกินแบบ If เลยแนะนำว่าไม่ควรที่จะต้องมีการหักโหมมากจนเกินไปเราไม่จำเป็นที่จะต้องเว้นช่วงนานถึง 18 ชั่วโมงแล้วกินอาหารแค่ภายในเวลา 6 ชั่วโมงเท่านั้นแต่เราสามารถที่จะเริ่มด้วยการทำแบบ 12/12  

นั่นก็คือกินอาหารในช่วงเวลา 12 ชั่วโมงและหยุดอาหารในช่วงเวลา 12 ชั่วโมงโดยเราสามารถที่จะเริ่มการอาหารในช่วงเวลา 8:00 น เป็นต้นไปและหยุดกินอาหารในช่วงเวลา 20:00 น และหลังจากนั้นเราก็หยุดกินอาหารซึ่งจะเป็นช่วงเวลาหลัง 2 ทุ่มเป็นต้นไปจนถึง 8 โมงเช้านั่นเอง 

อย่างไรก็ตามการที่เราเลือกกิน If แบบ 12/12 นั้นไม่สามารถที่จะทำให้เรานั้นผอมลงได้อย่างรวดเร็วแต่จะเป็นการฝึกร่างกายที่จะทำให้เราเริ่มรู้ตัวว่าเราจะเริ่มอดอาหารแล้วซึ่งคนที่เริ่มทำ IF ในช่วงแรกนั้นควรจะทำวิธีการนี้เพื่อที่จะไม่เป็นการทรมานร่างกายมากจนเกินไปเพราะถ้าหากว่าเราเริ่มกินอาหารแบบ IF

และเลือกที่จะทำแบบ 18/6 เลยเราจะรู้สึกหิวแล้วรู้สึกโหยตั้งแต่วันแรกที่เราเริ่มกินแบบ If เลยทีเดียว และถ้าหากเรายังฝืนทำต่อไปเชื่อว่าทำได้เพียงแค่ 3-4 วันเท่านั้นก็จะเริ่มรู้สึกเบื่อและรู้สึกทรมานจนบางคนอาจจะตัดสินใจเลิกกินแบบ If นั่นเอง